กัญชา สมุนไพรที่อยู่คู่กับมนุษย์มาอย่างช้านาน ทั้งในเรื่องของการใช้เพื่อสันทนาการ และการนำประโยชน์มาใช้ในทางการแพทย์ แล้วกัญชานั้นแบ่งออกเป็นกี่สายพันธุ์ มีข้อดี ข้อเสีย หรือข้อควรระวังในการใช้อย่างไรบ้าง มาติดตามได้ในรายการ Dr.Amp Podcast เรื่องเล่าสุขภาพดี กับ หมอแอมป์
ตอน "กัญชา คุณค่าสมุนไพรจากธรรมชาติ" โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ
-ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
-ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
-นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)
สามารถค้นหารายชื่อแพทย์ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการใช้กัญชาที่กรมการแพทย์ หรือ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกให้การรับรองได้ที่:
http://hemp.fda.moph.go.th/FDA_MARIJUANA/SAS/VISIT_DOCTOR
🌐 http://www.dramp.com
➡️ Instagram: DrAmp Team
➡️ Spotify: Dr.Amp Team
© drampCopyright 2020
-เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย-
ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์
-------------------
แหล่งอ้างอิง
1. พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ 2562. ราชกิจจานุเบกษา. หน้า 1-15
2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กำหนดรับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ที่ให้เสพเพื่อการรักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ 2564. ราชกิจจานุเบกษา. หน้า 74-75
3. วิเชียร กีรตินิจกาล, ‘รายงานสรุปผลการประชุมวิชาการ เรื่อง การวิจัยและพัฒนาสารสกัดกัญชาและกัญชงทางการแพทย์เพื่อการพัฒนาประเทศ’(องค์การเภสัชกรรมและภาคีเครือข่ายวันที่ 8-9 กุมภาพันธ์ 2561) https://www2.gpo.or.th/Default.aspx?tabid=388&language=th-TH สืบค้นวันที่ 15 มิถุนายน 2564
4. ศศิพงค์ ทิพย์รัชดาพร. กองควบคุมวัตถุเสพติด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพตำรับยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ 16 ตำรับ ตามบัญชีรายชื่อแนบท้าย ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กำหนดตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ที่ให้เสพเพื่อรักษาโรค หรือการศึกษาวิจัยได้ พ.ศ.2562.
5. Abu-Sawwa R, Stehling C. Epidiolex (cannabidiol) primer: frequently asked questions for patients and caregivers. The Journal of Pediatric Pharmacology and Therapeutics. 2020;25(1):75-7.
6. Alshaarawy O. Total and differential white blood cell count in cannabis users: results from the cross-sectional National Health and Nutrition Examination Survey, 2005–2016. Journal of cannabis research. 2019 Dec;1(1):1-7.
7. American Dental Association. Cannabis: Oral health effects. (2019). https://www.ada.org/en/member-center/oral-health-topics/cannabis-oral-health-effects
8. Anxiety disorder WHITING, Penny F., et al. Cannabinoids for medical use: a systematic review and meta-analysis. Jama, 2015, 313.24: 2456-2473.
9. Asbridge M, Hayden JA, Cartwright JL. Acute cannabis consumption and motor vehicle collision risk: systematic review of observational studies and meta-analysis. Bmj. 2012 Feb 9;344:e536.
10. Banerjee, Srabani, and Suzanne McCormack. "Medical cannabis for the treatment of chronic pain: a review of clinical effectiveness and guidelines." (2019).
11. Blanco‐Hinojo L, Pujol J, Harrison BJ, Macià D, Batalla A, Nogué S, Torrens M, Farré M, Deus J, Martín‐Santos R. Attenuated frontal and sensory inputs to the basal ganglia in cannabis users. Addiction biology. 2017 Jul;22(4):1036-47.
12. Blasco-Benito S, Seijo-Vila M, Caro-Villalobos M, Tundidor I, Andradas C, García-Taboada E, Wade J, Smith S, Guzmán M, Pérez-Gómez E, Gordon M. Appraising the “entourage effect”: Antitumor action of a pure cannabinoid versus a botanical drug preparation in preclinical models of breast cancer. Biochemical pharmacology. 2018 Nov 1;157:285-93.
13. Blessing EM, Steenkamp MM, Manzanares J, Marmar CR. Cannabidiol as a potential treatment for anxiety disorders. Neurotherapeutics. 2015 Oct;12(4):825-36.
14. Bruni N, Della Pepa C, Oliaro-Bosso S, Pessione E, Gastaldi D, Dosio F. Cannabinoid delivery systems for pain and inflammation treatment. Molecules. 2018 Oct;23(10):2478.
*Reference เพิ่มเติมใน comment
view more